ปัจจุบันนี้นั้นการเลือกใช้กระดาษสำหรับ งานพิมพ์เอกสาร ต่างๆ ของโรงพิมพ์ นั้นก็มีให้เลือกใช้กันอย่างมากมายหลายขนาดกันเลยนะครับ ซึ่งแต่ละขนาดนั้นก็มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป
การเลือกใช้กระดาษเลยจำเป็นมากที่จะต้องมีการกำหนดมาตรฐานของขนาดกระดาษที่ใช้ ทั้งนี้ก็เพื่อความสะดวกของแต่ละงาน และความง่ายในการพิมพ์ของ โรงพิมพ์ นั่นเอง อย่างไรก็ตามนั้นในปัจจุบันนี้นั้นมาตรฐานของกระดาษก็มีอยู่มากมายเลยนะครับโดยวันนี้เราก็จะมาพูดพอสังเขปกันให้ฟัง เผื่อจะเป็นข้อมูลดีๆ ที่จะเอาไปรับใช้ได้
มาตรฐานของขนาดกระดาษ ISO 216
มาตรฐานของขนาดกระดาษ ISO 216 จุดเด่นของมาตรฐานนี้ก็คือเมื่อนำกระดาษที่มีขนาดตามที่กำหนดไว้มาพับครึ่งนั้น ก็ยังคงมีสัดส่วนที่ดีอยู่
อย่างเช่น A4 เมื่อนำมาพับก็ยังสามารถที่จะเป็นสัดส่วนที่คนส่วนใหญ่ยังคงนิยมมาทำอยู่นั่นเอง ซึ่งทำให้ไม่มีการเสียกระดาษไปอย่างเปล่าประโยชน์ซึ่งบางครั้งขนาดกระดาษแบบนี้ผมคิดว่าน่าจะเหมาะกับ โรงพิมพ์หนังสื่อที่ต้องการให้หนังสื่อที่เราออกแบบนั้นมีขนาดได้ตามที่ต้องการ แถมยังเป็นสัดส่วนที่หลายๆ คนชื่นชอบกันอีกด้วย
3 มาตรฐานรหัสชุด
1.มาตรฐานรหัสชุด A เป็นมาตรฐานที่สร้างความคุ้นเคยและถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งขนาด A4 ถือเป็นขนาดที่ใช้กันมาก โดยเฉพาะ งานพิมพ์เอกสาร นั้นก็จะนิยมขนาดนี้กันเยอะมากจริงๆ
2.มาตรฐานรหัสชุด B จะไม่ค่อยมีคนใช้สักเท่าไรนักส่วนใหญ่ตาม โรงพิมพ์ก็จะนิยมมาใช้การพิมพ์โปสเตอร์ต่างๆ
3.มาตรฐานรหัสชุด C ขนาดนี้นั้นก็มีไว้กำหนดขนาดซองของกระดาษซึ่งแน่นอนนะครับว่าขนาด A4 ถือเป็นขนาดที่นิยมใช้กันเป็นจำนวนมากเช่นกัน
โดย C4 ถือเป็นขนาดที่เหมาะสมมากที่สุด มาตรฐานอเมริกาเหนือ ถือเป็นมาตรฐานที่ต่างกันออกไป ซึ่งมีขนาดที่นิยมใช้ในอเมริกากันนั่นเอง โดยจะใช้ในงาน โรงพิมพ์สถาปนิกและวิศวกร มาตรฐานขนาดกระดาษ ANSI ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใกล้เคียงกับมาตรฐานของระบบ ISO มากที่สุด ซึ่งเวลาที่แบ่งครึ่งของกระดาษนั้นก็จะได้ขนาดที่เท่ากัน 2 ชิ้น
เอาเป็นว่ายังมีอีกหลากหลายมาตรฐานนะครับที่ตาม โรงพิมพ์ ต่างๆ นั้นได้นิยมเลือกใช้กันเป็นอย่างมาก ส่วนการ รับพิมพ์สติ๊กเกอร์ ของโรงพิมพ์ ก็อาจจะต้องใช้กระดาษเฉพาะทาง ซึ่งก็จะเป็นกระดาษสติ๊กเกอร์ซึ่งปัจจุบันก็มีขายกันเป็นจำนวนมากและมีราคาที่ไม่แพงสักเท่าไร
แต่อย่างไรก็ตามนั้นมาตรฐานของกระดาษที่นิยมใช้ตาม โรงพิมพ์นั้นในแต่ละประเทศก็มีความแตกต่างกันออกไปเอาเป็นว่าเราก็ควรที่จะเลือกให้เหมาะสมกับชิ้นงานของเรานะครับเพื่อที่งานของเราทีทำออกมานั้นมีความสวยงามนั่นเอง